เล็กเซอร์
-การนำเสนอจะประสบความสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อ...ผู้ฟังเกิดความยอมรับและพึงพอใจ จึงต้องมีวิธีสร้างสรรค์ งานโฆษณาซึงเป็นกระบวนการสื่อสารข้อมูล
-แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานโฆษณา
-แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานโฆษณา
การสร้างสรรค์งานโฆษณาเป็นการคิดค้นสร้างสรรค์งานโฆษณาเพื่อให้ข่าวสารหรือโน้นน้าวใจให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความอยากได้ และทดลองใช้สินค้าที่โฆษณา
โฆษณาที่ดีต้องเข้าใจว่าสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อไม่ใช่ผลิตภัณฑ์
การสร้างสรรค์ต้องมีหลัก ความตรงประเด็น มีเอกลักษณ์ สร้างผลกระทบที่ดี มีความเข้าใจ ชัดเจนน่าเชื่อถือ มีเหตุผลและสร้างอารมณ์
โฆษณาที่ดีต้องเข้าใจว่าสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อไม่ใช่ผลิตภัณฑ์
การสร้างสรรค์ต้องมีหลัก ความตรงประเด็น มีเอกลักษณ์ สร้างผลกระทบที่ดี มีความเข้าใจ ชัดเจนน่าเชื่อถือ มีเหตุผลและสร้างอารมณ์
-การสร้างสรรค์งานโฆษณาให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์
1.การวางกลยุลธ์ในการสร้างสรรค์
1.การวางกลยุลธ์ในการสร้างสรรค์
2.การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์
3.การสร้างสรรค์ผลงานให้โดดเด่น มีประสิทธิภาพและเหมาะสม
3.การสร้างสรรค์ผลงานให้โดดเด่น มีประสิทธิภาพและเหมาะสม
แบบสรุปย่อทางการออกแบบ
1.ชื่อเรื่อง ดัชมิลล์
มาสคอส
ความเป็นมาของนมดัชมิลล์
บริษัท ดัชมิลล์ จำกัด เดิมจดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2527 เพื่อประกอบกิจการโรงงานผลิตโยเกิร์ต และโยเกิร์ตพร้อมดื่ม ภายใต้ชื่อ "ผลิตภัณฑ์ ดัชมิลล์ (Dutch Mill)" อุตสาหกรรมขนาดเล็กที่ หมู่บ้านสหกรณ์คลองกุ่ม กรุงเทพฯ สินค้าตัวแรกที่ทางบริษัททำการผลิต คือ โยเกิร์ต มี 4 รส คือ รสส้ม รสสตรอเบอรี่ รสสับปะรด และรสธรรมชาติ ทั้งได้ทำการทดลองวางตลาดโดยวางจำหน่ายในซุปเปอร์มาร์เก็ตบนถนนสุขุมวิท และเพชรบุรีตัดใหม่ ภายในเวลาเพียง 3 เดือนก็ได้รับความนิยม เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในหมู่ชาวต่างชาติ โดยมี บริษัทโปรมาร์ท อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งจดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ เดือนกุมภาพันธ์ 2527 เป็นผู้ดำเนินการด้านการตลาดในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์
จนกระทั่งในปี 2534 เกิด วิกฤตการณ์น้ำนมดิบล้นตลาดส่งผลให้ราคาน้ำนมดิบตกต่ำ รวมทั้งเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมไม่สามารถหาตลาด รองรับน้ำนมดิบได้ ซึ่งเป็นปัญหาที่รัฐบาลในขณะนั้นต้องเร่งแก้ไข
จึงได้ก่อตั้งบริษัท ดัชมิลล์ จำกัด โดยได้ทำการ เปลี่ยนชื่อ บริษัท โปรฟู้ด จำกัด เป็น บริษัท ดัชมิลล์ จำกัด โดยได้รวม บริษัท ดัชมิลล์ (ประเทศไทย) จำกัด เข้าเป็นบริษัทเดียวกันเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2534 เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์อาหารนม ทั้งพาสเจอร์ไรซ์ และยูเอชที โดยรับโควต้าการรับซื้อน้ำนมดิบจากเกษตรกรเข้ามาเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต และต่อมาได้รวม บริษัท คัสตอมมาร์ท จำกัด กับ บริษัท แดรี่ พลัส จำกัด เข้าด้วยกัน ภายใต้ชื่อ บริษัท แดรี่ พลัส จำกัด เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2543 ในการผลิตและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ อาหารนมยูเอชที ซึ่งเป็นหนึ่งในบริษัทในเครือของดัชมิลล์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค
2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเป้าหมาย
3. เพื่อศึกษาหาช่องทางในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์
สิ่งที่ต้องคำนึงในการส่งเสริมการตลาด
1. การวางกลุ่มเป้าหมาย ( Target Group )ในการส่งเสริมการตลาดนั้นจำเป็นที่จะต้องกำหนดหรือเลือกกลุ่มเป้าหมายเฉพาะสำหรับการส่งเสริมการตลาดในแต่ละครั้ง เพื่อที่จะได้กำหนดรูปแบบการส่งเสริมการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพและตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้
2. ขอบเขต ( Scope )จะต้องระบุว่าการส่งเสริมการตลาดจะทำในขอบเขตที่กว้างหรือแคบแค่ไหน อย่างไร จะทำเป็นระดับชาติ ( National Campaign ) หรือระดับท้องถิ่น ( Regional Campaign ) หรือเฉพาะกลุ่ม ( Niche )
3. ความเข้มข้นของการส่งเสริมการขาย ( Scale ) ในการส่งเสริมการตลาดนั้นจะทำโดยใช้เวลานานแค่ไหน ทำครั้งเดียว หรือทำหลายครั้งในแต่ละช่วงเวลา เช่น การลดราคาอาจจะใช้เวลาสั้น การแลกซื้อหรือชิงโชคอาจใช้เวลานาน ดังนั้น กิจกรรมทางการตลาดแต่ละประเภทจึงมีระยะเวลาที่แตกต่างกัน การจัดจำหน่าย ( Place ) หมายถึง กลไกต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการทำให้สินค้าเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตไปสู่มือผู้บริโภค
หลักเกณฑ์ที่ต้องพิจารณาในการจัดจำหน่าย
1. สถานที่ตั้ง ( Location ) จะพิจารณาเกี่ยวกับประเด็นที่ว่าจะขายสินค้า ณ. จุดใด ถ้ามีทำเลได้เปรียบจะมีโอกาสมากกว่าคู่แข่งขัน
2. ช่องทางการจัดจำหน่าย ( Channel of Distribution ) การจัดจำหน่ายจะผ่านใครบ้าง เช่น ส่งผ่านผู้ค้าปลีก หรือส่งผ่านจากผู้ผลิตสู่มือผู้บริโภคโดยตรง
3. ประเภทชนิดของช่องทาง ( Type of Outlet ) เช่น ใช้รูปแบบสหกรณ์, การขายด้วยเครื่องขายอัตโนมัติ, ขายทางไปรษณีย์ เป็นต้น
4. การจัดการสินค้าคงคลัง ( Inventory Control ) จะเกี่ยวข้องกับต้นทุน ถ้าเก็บสินค้ามากเกินไปก็จะทำให้ต้นทุนในการจัดเก็บสูง แต่ถ้าเก็บน้อยเกินไปก็อาจเกิดปัญหาสินค้าไม่พอขายได้ 5. การบริหารสินค้า ( Merchandising ) นอกจากจะพิจารณาถึงจำนวนแล้วยังต้องพิจารณาว่าเราควรมีสินค้าและบริการอะไรไว้ขายบ้าง รวมถึงการดูแลด้านการจัดแสดงสินค้าให้ดึงดูดผู้บริโภคอีกด้วย
2. ขอบเขต ( Scope )จะต้องระบุว่าการส่งเสริมการตลาดจะทำในขอบเขตที่กว้างหรือแคบแค่ไหน อย่างไร จะทำเป็นระดับชาติ ( National Campaign ) หรือระดับท้องถิ่น ( Regional Campaign ) หรือเฉพาะกลุ่ม ( Niche )
3. ความเข้มข้นของการส่งเสริมการขาย ( Scale ) ในการส่งเสริมการตลาดนั้นจะทำโดยใช้เวลานานแค่ไหน ทำครั้งเดียว หรือทำหลายครั้งในแต่ละช่วงเวลา เช่น การลดราคาอาจจะใช้เวลาสั้น การแลกซื้อหรือชิงโชคอาจใช้เวลานาน ดังนั้น กิจกรรมทางการตลาดแต่ละประเภทจึงมีระยะเวลาที่แตกต่างกัน การจัดจำหน่าย ( Place ) หมายถึง กลไกต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการทำให้สินค้าเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตไปสู่มือผู้บริโภค
หลักเกณฑ์ที่ต้องพิจารณาในการจัดจำหน่าย
1. สถานที่ตั้ง ( Location ) จะพิจารณาเกี่ยวกับประเด็นที่ว่าจะขายสินค้า ณ. จุดใด ถ้ามีทำเลได้เปรียบจะมีโอกาสมากกว่าคู่แข่งขัน
2. ช่องทางการจัดจำหน่าย ( Channel of Distribution ) การจัดจำหน่ายจะผ่านใครบ้าง เช่น ส่งผ่านผู้ค้าปลีก หรือส่งผ่านจากผู้ผลิตสู่มือผู้บริโภคโดยตรง
3. ประเภทชนิดของช่องทาง ( Type of Outlet ) เช่น ใช้รูปแบบสหกรณ์, การขายด้วยเครื่องขายอัตโนมัติ, ขายทางไปรษณีย์ เป็นต้น
4. การจัดการสินค้าคงคลัง ( Inventory Control ) จะเกี่ยวข้องกับต้นทุน ถ้าเก็บสินค้ามากเกินไปก็จะทำให้ต้นทุนในการจัดเก็บสูง แต่ถ้าเก็บน้อยเกินไปก็อาจเกิดปัญหาสินค้าไม่พอขายได้ 5. การบริหารสินค้า ( Merchandising ) นอกจากจะพิจารณาถึงจำนวนแล้วยังต้องพิจารณาว่าเราควรมีสินค้าและบริการอะไรไว้ขายบ้าง รวมถึงการดูแลด้านการจัดแสดงสินค้าให้ดึงดูดผู้บริโภคอีกด้วย
กลุ่มเป้าหมาย
ดื่มได้ทุกเพศทุกวัย
อายุ 6 ขวบ ขึ้นไป
SWOT
S = จุดแข็ง (Strengths) สะดวก ดื่มง่ายมีประโยชน์ รสชาติดี มีคุณภาพ
W = จุดอ่อน (Weakness) เปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน เช่นแพงกว่า ขนาดหรือจำนวนน้อยกว่ามีสีให้เลือก ชื่อเสียงด้อยกว่า
O = โอกาส (Opportunities)สร้างโอกาสในการส่งเสริมเยาว์ชนให้ดื่มนมกันเพื่อสุขภาพ
T = อุปสรรค (Threats) การที่มีคู่แข่งที่มีศักยภาพสูงมีส่วนแบ่งทางการตลาดสูง หรือพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ไม่สอดคล้อง
concept
ดัชมิลล์แดรี่พลัสส์
support
อร่อยดี มีประโยชน์
Mood-Tone
-รู้สึกสดชื่น
-มีหลากหลายรสให้เลือก
-ให้ปรโยชน์ทางโภชนา
Desired respones
1.เพื่อศึกษาปัจัยที่มีอิทะพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค
2.เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเป้าหมาย
3.เพื่อศึกษาหาช่องทางในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น